ประเพณีไทยภาคเหนือ
ประเพณีปอยข้าวสังฆ์ ประเพณีไทยล้านนา
ภาษาล้านนา คำว่า “ปอย” หมายถึง งานบุญประเพณี ที่มีผู้คนมาชุมนุมกันเป็นจำนวนมาก ส่วนคำว่า “ข้าวสังฆ์” หมายถึง เครื่องอุปโภคบริโภคสำหรับถวายพระสงฆ์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้วายชนม์ ในที่นี้จะหมายเอาเฉพาะผู้วายชนม์ที่สิ้นชีวิตผิดปกติวิสัยหรือที่เรียก “ตายโหง”ชาวล้านนาเชื่อว่า การตายโหง เป็นการตายที่ผู้ตายไม่ได้เตรียมตัวหรือรู้ตัวมาก่อน ชีวิตหลังการตายจะเป็นอยู่ด้วยความลำบาก...
4
ประเพณีการทำขวัญผึ้งเป็นประเพณีไทยที่สืบเนื่องมาจากการส่งส่วยน้ำผึ้งแทนแรงงานราษฎรของชาวตำบลศรีคีรีมาศ การส่งส่วยเป็นการปฏิบัติตามพระราชกำหนดที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งกำหนดไว้ว่าชายฉกรรจ์ไทยที่มีร่างกายสมประกอบมิได้เป็นบรรพชิต นักบวช มิใช่ไพร่สมสังกัดเจ้าขุนมูลนายใด ๆ ท่านให้สักข้อมือขึ้นบัญชีเป็นไพร่หลวง สังกัดนครหลวงหรือหัวเมืองต่าง...
1
ประเพณีปีใหม่ม้ง น่อเป๊ะเจ่า
ประเพณีขึ้นปีใหม่หรือประเพณีฉลองปีใหม่ ซึ่งเป็นงานรื่นเริงของชาวม้งของทุก ๆ ปี จะจัดขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปีเรียบร้อย และเป็นการฉลองถึงความสำเร็จในการเพาะปลูกของแต่ละปี ซึ่งจะต้องทำพิธีบูชาถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบ้าน ที่ให้ความคุ้มครอง และดูแลความสุขสำราญตลอดทั้งปี รวมถึงผลผลิตที่ได้ในรอบปีด้วย ซึ่งแต่ละหมู่บ้านจะทำการฉลองกันอย่างพร้อมเพรียงกัน...
3
เชิญเที่ยวงานเทศกาลร่มบ่อสร้าง ประจำปี 2556 ประเพณีไทยภาคเหนือ
ททท.สำนักงานเชียงใหม่ และเทศบาลตำบลต้นเปา ขอเชิญเที่ยวงาน"เทศกาลร่มบ่อสร้าง" บริเวณหมู่บ้านบ่อสร้าง อ.สันกำแพง จ. เชียงใหม่ งานเทศกาลร่มบ่อสร้าง ครั้งที่ 30 ประจำปี 2556 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18-20 มกราคม 2556 ณ.บ้านบ่อสร้าง ร่มบ่อสร้าง เป็นสินค้าพื้นเมืองที่ได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ สาเหตุที่เรียกว่าร่มบ่อสร้างเพราะร่มนี้ผลิตกันที่บ้านบ่อสร้าง...
กั่นตอ ประเพณีไทยใหญ่ เมืองปาย ประเพณีขอขมาผู้เฒ่า
ประเพณีสงกรานต์หรือปีใหม่ไทยของทุกปี นอกจากการเข้าวัดเพื่อทำบุญตักบาตรเพื่อความเป็นสิริมงคลในช่วงปีใหม่แล้ว อีกสิ่งที่คนไทยมักจะปฏิบัติสืบต่อกันมาก็คือ ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่หรือผู้อาวุโสกว่า เพื่อขอขมาในสิ่งที่อาจเคยล่วงเกินไป พร้อมกับขอให้ผู้ใหญ่อวยชัยให้พร ประวัติความเป็นมา สมัยพระพุทธกาลนั้นมีสามีภรรยาคู่หนึ่งไปกราบทูลสมเด็จองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า...
ประเพณีโล้ชิงช้าของชาวอีก้อ ประเพณีไทยภาคเหนือ
ชาวอีก้อ หรือที่เรียกตนเองว่า "อาข่า" มีเชื้อสายจากจีน-ทิเบต เดินทางอพยพมาอยู่บริเวณ ชายแดนไทย-พม่า แถบตอนเหนือของลำน้ำกก โดยเฉพาะอำเภอแม่จัน และแม่สาย การโล้ชิงช้าเป็นการขึ้นไปขอพรและแสดงความรำลึกถึงพระคุณของเทพธิดาแห่ง สรวงสวรรค์ ผู้ประทานความชุ่มชื่นอุดมสมบูรณ์ให้กับพืชพันธุ์ธัญญาหารและ ยังเป็นการเซ่นไหว้บรรพบุรุษอีกด้วย จัดในช่วงเดือนสิงหาคม ประเพณีโล้ชิงช้า...
พระบรมธาตุดอยตุง เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดของเชียงราย ประดิษฐานอยู่บนยอดดอยตุง ตั้งอยู่ในวัดพระธาตุดอยตุง ต.ห้วยไคร้ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย มีถนนแยกจากบ้านห้วยไคร้ขึ้นไปจนถึงองค์พระบรมธาตุ องค์พระบรมธาตุเจดีย์ มีอยู่ 2 องค์ โดยมีเรื่องเล่าว่าได้มีการนำพระบรมธาตุมาบรรจุที่ดอยตุงถึง 3 ครั้ง แต่ละครั้งก็จะมีการก่อเจดีย์ขึ้นด้วย แต่มีเพียง 2 องค์เท่านั้นที่ได้รับการบูรณะและอยู่มาจนถึงปัจจุบัน...
1
ประเพณีแฮกนาไถเอาฤกษ์พิธีผีตาแฮก ปลุกขวัญชาวนา
ประเพณีแฮกนา ก็คือ การลงถือไถครั้งแรกของชาวนา เป็นประเพณีไทยภาคเหนือและภาคอีสานที่ถือปฏิบัติแต่เดิม ชาวนาจะคำนึงถึงพญานาคให้น้ำในวันปีใหม่สงกรานต์ว่า ปีนี้นาคที่ให้หันหน้าไปทางทิศไหน การเริ่มไถแฮกนาจะไถตั้งหัวนาคไปหาหางนาค จะเว้นจากการไถเสาะเกล็ดนาค คือ ทวนเกล็ดพญานาค 1 และไถค้างท้องนาค 1 หมายถึงการไถที่ตระกายท้องนาค ซึ่งการไถ 2 แบบนี้ไม่เป็นมงคลการไถนั้นจะเริ่มต้นด้วยการ...
2
ประเพณีไทย ประเพณีปอยส่างลอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประเพณีปอยส่างลองเป็นประเพณีไทยที่เกิดจากศรัทธายึดมั่นในบวรพุทธศาสนาอย่างมั่นคงของคนไตซึ่งถือว่าการที่กุลบุตรสามารถอุทิศตนบรรพชาอุปสมบทในพุทธศาสนาได้เป็นผู้มีบุญอันยิ่งใหญ่ เจ้าภาพจะยอมเสียสละ สิ่งของ เงิน ทอง อันเป็นโลกียทรัพย์ภายนอกเท่าไรก็ได้เพื่อสนับสนุนให้กุลบุตรได้มีโอกาสพบกับอริยทรัพย์ในทางพระพุทธศาสนาคือ การบรรพชา ...
1
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น